Page 4 - เยือนกวานฮาล็อก บางปรอกน่าอยู่
P. 4
โครงการจัดการน้ำเสียของชุมชน โดยภูมิปัญญาของชุมชนใน
รูปแบบต่างๆ จึงเกิดขึ้น เช่น การพัฒนาศักยภาพแกนนำในการสร้าง
องค์ความรู้ของตนเอง ในการจัดการการรณรงค์ทำน้ำหมักชีวภาพ
การจัดการน้ำเสียจากต้นทางในครัวเรือน ตลอดจนการจัดกิจกรรมแก้ไข
ุ
ั
้
ี
้
ิ
ี
นำเสยโดยจดหยดนำหมกชวภาพ ตลอดแนวคลองของชุมชน ฯลฯ กจกรรม
ต่างๆ เหล่านี้ทดสอบความเข้มแข็ง และแรงใจในการแก้ปัญหาของชุมชน
่
โดยตนเองอยูตลอดเวลา
่
ุ
แมจะไมสามารถคาดการณ์ไดวา สถานการณ์นำเสยจะรนแรงขึน
ี
้
่
้
้
้
หรือไม่ แต่ในปัจจุบันน้ำในคลอง ชาวชุมชนเริ่มใช้ประโยชน์จาก
ลำคลองได้ดังเดิม การเลี้ยงปลา การใช้อุปโภคในชุมชนเริ่มมีมากขึ้น
ความประสบผลสำเร็จขั้นหนึ่งของชุมชนทำให้เกิดแรงใจในการสนับสนุน
แนวคิดที่ว่า“ชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่” สามารถจัดการได้โดย
ชาวชุมชนเป็นหลัก ซึ่งก่อให้เกิดโครงการพัฒนาชุมชนในด้านอื่นๆ
ของชุมชนอย่างต่อเนื่อง เช่น กิจกรรมด้านเยาวชน การฟื้นฟูอนุรักษ์ศิลป
วัฒนธรรม กองทุนชุมชน ฯลฯ และยังเป็นต้นแบบนำร่องให้กับพื้นที่อื่นๆ
ี
้
ี
่
ไดศกษาดงาน แลกเปลยนเรยนรรวมกนทงในและต่างประเทศ
ู
้
ั
ั
้
ึ
่
ู
การจัดทำหนังสือเล่มนี้ จึงอาจช่วยเป็นส่วนหนึ่งในการเผยแพร่
แนวคิดดังกล่าว และคงจะไม่สำเร็จลงได้หากขาดการสนับสนุนแรงใจจาก
ี
่
ั
ั
ุ
ื
พนธมตรของชมชน ไดแก เทศบาลเมองปทมธาน จงหวดปทมธาน สำนกงาน
ี
ุ
ิ
ั
ั
้
ุ
วัฒนธรรมจังหวัดปทุมธานี สำนักงานสิ่งแวดล้อมจังหวัดปทุมธานี
สำนักงานยุติธรรมจังหวัดปทุมธานี ศูนย์บริการศึกษานอกโรงเรียนเมือง
ี
ปทมธาน โรงเรยนเทศบาลปทมธาน โรงเรยนอนบาลปทมธาน โรงเรยนคลอง
ี
ี
ี
ี
ี
ุ
ุ
ุ
ุ
ั
ี
ุ
ั
์
ั
์
ุ
ี
บางโพธ โรงเรยนวดหงษปทมาวาส วดหงษปทมาวาส โรงเรยนวดจนทาราม
์
ิ
ั
ี
ิ
ู
โรงเรยนปทมธาน มลนธชมชนไท และมหาวิทยาลยรงสต
ี
ุ
ิ
ุ
ั
ั
ิ
ั
่
์
อำนาจ จนทรชวง
่
ทปรึกษาคณะกรรมการชุมชน มูลนิธิชุมชนไท
ี
àÂ͹¡ÇÒ¹ÎÒÅÍ¡ ºÒ§»ÃÍ¡¹ÒÍÂÙ è
×
ç
è
4