กระบวนการเตรียมชุมชนพร้อมรับมือภัยพิบัติ (ฉบับ 3 ภาษา)

เรื่องราวกระบวนการเตรียมชุมชนพร้อมรับมือภัยพิบัติ กรณีชุมชนบ้านน้ำเค็ม ชุมชนที่แทบล่มสลายจากเหตุการณ์สึนามิ กลายมาเป็นชุมชนต้นแบบ ด้านการจัดการภัยพิบัติ 3 ภาษา

จัดทำโดย :
มูลนิธิศิษย์นายร้อย
ตามรอยพระบาททูลกระหม่อมอาจารย์

เนื้อหาที่สำคัญ

- สิบหลักการสำคัญของการจัดการภัยพิบัติ
- สี่ด้านการเตรียมรับวิกฤติ
- สี่อย่างด้านการฟื้นฟูหลังเกิดภัยพิบัติ
- เก้าเรื่องของการเตรียมความพร้อมก่อนเกิดภัย

ลีลาปาเต๊ะ พลังผู้หญิง พลังชุมชน

  

เนื้อหาในหนังสือ

- กระบวนการอบรม
- ความรู้ในกระบวนการอบรมผู้หญิง

การศึกษาผู้หญิงกลุ่มหนึ่ง ที่พวกเธอมุ่งหวังการปกป้องสิทธิชุมชนและร่วมพัฒนาสังคม
เรามาจาก...ลุ่มน้ำปัตตานี  ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา และฝั่งทะเลอันดามัน

กระบวนการเตรียมชุมชนเพื่อเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติ

  

เนื้อหาในหนังสือ

จากชุมชนที่แทบล่มสลายจากเหตุการณ์สึนามิ กลายมาเป็นชุมชนต้นแบบด้านการจัดการภัยพิบัติ เรื่องราวจากประสบการณ์ตรงจากบ้านน้ำเค็ม
- ช่วงวิกฤติขณะเกิดเหตุ
- ช่วงฟื้นฟูหลังภัยพิบัติเสริมความเข้มแข็งขององค์กรชุมชน
- เตรียมพร้อมก่อนเกิดภัย
- หลักทั้งสิบขั้นของการจัดการโดยชุมชน

ภูมิปัญญาสมุนไพรคนไทยพลัดถิ่น

  

เนื้อหาในหนังสือ

คนไทยพลัดถิ่นคือใคร
- การจัดการสุขภาพจากองค์ความรู้
- แผนที่ชุมชนคนไทยพลัดถิ่น
- คนไทยพลัดถิ่นกับการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นรักษาสุขภาพ
- ยาสมุนไพรกับภูมิปัญญาชาวบ้าน
- แผนการถ่ายทอดสู่ชุมชนในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม

สนับสนุนโดย สสส. และมูลนิธิชุมชนไท
ผลิตโดย เครือข่ายการแก้ปัญหาคืนสัญชาติคนไทยพลัดถิ่นจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ระนอง ชุมพร พังง

คนชายขอบจัดการตนเอง

  

เนื้อหาในหนังสือ

- สรุปเชิงบริหารโครงการพัฒนาศักยภาพสิทธิชุมชนคนชายขอบและสิทธิการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- พลังชี้ขาดการแก้ปัญหาที่ดินคนลาเลียง
- แปรวิกฤตเป็นงานพัฒนาที่ท่าสัก
- เส้นทางสู่ความมั่นคงของชาวเลราไวย์
- จากคนเฝ้าเหมือง สู่บ้านมั่นคงที่กิ่งแก้ว ซ. 2
-ที่มั่นสุดท้ายของอุรักลาโว้ยโต๊ะบาหลิว
- การใช้บันทึกความร่วมมือในการเข้าถึงสิทธิ
ความเป็นคนไทยของคนไทยพลัดถิ่น

Pages